คณะศิลปกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดยศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง FAA-Emili Sagol และกลุ่ม Mobile Arts Therapy ร่วมกันจัดกิจกรรมศิลปะบําบัดเพื่อเยียวยาจิตใจผู้รอดชีวิตและผู้ผ่านประสบการณ์การสังหารหมู่เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565
คณะศิลปกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโดยศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง FAA-Emili Sagol และกลุ่ม Mobile Arts Therapy ร่วมกันจัดกิจกรรมศิลปะบําบัดเพื่อเยียวยาจิตใจผู้รอดชีวิตและผู้ผ่านประสบการณ์การสังหารหมู่เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565 ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตําบลท่าอุทัยสวรรค์จังหวัดหนองบัวลําภู กิจกรรมจัดขึ้นเมื่อวันที่ 5-7 พฤศจิกายน 2565 โดยมีกลุ่มนักเรียน กลุ่มอสังหา และกลุ่มผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ได้แก่ครู เจ้าหน้าที่ อบตและชาวบ้านที่มีญาติถูกกราดยิงอย่างโหดเหี้ยม
กิจกรรมประกอบด้วยการวาดรูป การเล่นบทบาทสมมุติจากเรื่องเล่าในภาพวาด การเคลื่อนไหวบําบัด (Trauma Release Exercises)และกิจกรรมดนตรีเพื่อความผ่อนคลาย
กิจกรรมโครงการศิลปะบำบัดเพื่อเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์กราดยิง จังหวัดหนองบัวลำภู
ประธานโครงการฯ : ศาสตราจารย์ ดร.บุษกร บิณฑสันต์
คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางนวัตสหศิลป์เพื่อสุขภาวะ อิมิลี่ - ซากอย แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรึกษาโครงการฯ : Prof. Rachel Lev-Wiesel
The Emili Sagol Creative Arts Therapies Research Center (CATRC)
ผู้สนับสนุนโครงการฯ :
1. คุณราเมศวร์ ศิลปพรหม
ผู้อำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพรส์ จำกัด
2. คุณมกร พงษ์ธนพฤกษ์
เลขาธิการสมาคมนิสิตเก่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผู้เข้าร่วมจัดโครงการฯ :
1. นายสุวิทย์ จันทร์หวร
รองผู้ว่าราชการจังหวัดหนองบัวลำภู
2. องค์การบริหารส่วนตำบลอุทัยสวรรค์ อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู
3. นางสาวพรพิมล กันทะชัย
พยาบาลวิชาชีพอิสระ
4. นางบุษลักษณ์ สาฆะ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดหนองบัวลำภู
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปัณณ์ณัช ธนัทพรรษรัตน์
อาจารย์ประจำสาขาวิชาการออกแบบ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ เชิดชู
อาจารย์ประจำภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาณุ อุดมเพทายกูล
อาจารย์ประจำคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
8. นางลัดดา จีระกุล
นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต
9. นางสาวธัญญรัตน์ ตันหล้า
นักสังคมสงเคราะห์ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต
10. นางสาวเพียงกาญจน์ สุวรรณปัทม์
อาชีพอิสระ
11. ดร.นิศรา เจริญขจรกิจ
นักวิจัยอิสระ
ผู้ประสานงานโครงการฯ :
ทินภัทร เปี่ยมเจียก
ผู้ช่วยนักวิจัย ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางนวัตสหศิลป์เพื่อสุขภาวะ อิมิลี่ – ซากอย
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามลิ้งค์ด้านล่าง